วันอังคารที่ 7 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2555

การประมาณค่า

การประมาณค่า — Presentation Transcript

  • 1. พื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โดย ครูจิระประภา สุวรรณจักร์
  • 2. การประมาณ เป็นการบอกขนาด จานวน หรือปริมาณที่ไม่ต้องการละเอียดถี่ถ้วน เป็นเพียงการคาดคะเนจานวนหรือปริมาณด้วยสายตาเท่านั้น ไม่จาเป็นต้องใช้เครืองวัด ่เครื่องคานวณ หรือการนับแต่อย่างใด
  • 3. การบอกจานวนใด ๆ โดยวิธีการประมาณค่า นั้นนิยมบอกเป็นจานวนใกล้เคียงจานวนเต็มเช่น จานวนสิบจานวนเต็มร้อย จานวนเต็มพัน จานวนเต็มหมืน จานวน ่เต็มแสนจานวนเต็มล้าน ฯลฯ เป็นต้น 1.การประมาณค่าใกล้เคียงจานวนเต็มสิบ หมายถึงจานวนที่หลักหน่วยของเลข 2 หลักลงท้าย ด้วยเลข 0 เช่น 10 ,20 ,30 ,40 ,50 ,60 ,70 ,80 และ 90
  • 4. โดยให้พิจาณาเฉพาะเลขหลักหน่วยเท่านั้น ดังนี้1. ถ้าตัวเลขในหลักหน่วยมีค่าต่ากว่า 5 ให้เราประมาณค่าเป็นจานวนเต็มสิบน้อยกว่าเลขจานวนนั้น เช่น324 หลักหน่วยของเลขจานวนนี้คือ 4 ซึ่งมีค่าน้อยกว่า 5ให้เราประมาณค่าจานวนเต็มสิบของจานวนนี้คือ 320ดูเส้นจานวนข้างล่างนี้ประกอบ 324 <------|------|------|------|------|------|------|------|------|-------> 320 321 322 323 324 325 326 327 328 329 330
  • 5. 2. ถ้าหลักหน่วยของเลขจานวนนั้นมีค่ามากกว่าหรือเท่ากับ 5 ให้เราประมาณค่าใกล้เคียงจานวนเต็มสิบมากกว่าเลขจานวนนั้น เช่น 327 หลักหน่วยของเลขจานวนนี้คือ 7 เราก็สามารถประมาณค่าใกล้เคียงจานวนเต็มสิบของ เลขจานวนนี้คือ 330 326 <------|------|------|------|------|------|------|------|------|-------> 320 321 322 323 324 325 326 327 328 329 330
  • 6. 2.การประมาณค่าใกล้เคียงจานวนเต็มร้อย จานวนเต็มร้อยหมายถึงจานวนที่มีหลักหน่วยหลักสิบ ของเลข 3 หลักเป็นเลข 0 เช่น 100 , 200 , 300 ,400, 500 , 600 , 700, 800 และ 900 การประมาณค่าให้ใกล้เคียงจานวนเต็มร้อย ทาได้โดยพิจาณาจากตัวเลขเฉพาะในหลักสิบของจานวนนั้น ๆ ดังนี้ 1. ถ้าตัวเลขในหลักสิบมีค่าต่ากว่า 50 ให้ประมาณค่า จานวนนั้นเป็นจานวนเต็มร้อยน้อยกว่าเลขจานวนนั้น
  • 7. เช่น จงประมาณค่าใกล้เคียงจานวนเต็มร้อยของ 2, 320 แนวคิด จานวน 2,320 อยู่ระหว่างจานวนเต็มร้อย คือ 2,300 กับ 2,400 และหลักสิบของเลขจานวนนี้คือ 20 ซึ่งมีค่าน้อยกว่า 50 ให้เราประมาณค่าจานวนเต็มร้อย ของจานวนนี้คือ 2,300 2,320<----|-------|-------|-------|-------|-------|------|-------|-------|------|------|----->2,300 10 20 30 40 50 60 70 80 90 2,400
  • 8. 2. ถ้าหลักสิบของเลขจานวนนั้นมีค่ามากกว่าหรือเท่ากับ50 ให้ประมาณค่าใกล้เคียงจานวนเต็มร้อยมากกว่าจานวนนั้น เช่น ประมาณค่าใกล้เคียงจานวนเต็มร้อยของ 2,370 แนวคิด จานวน 2,370 อยู่ระหว่างจานวนเต็มร้อย คือ 2,300 กับ 2,400 และหลักสิบของเลขจานวนนี้คือ 70 ซึ่งมีค่ามากกว่า 50 ให้เราประมาณค่าจานวนเต็มร้อย ของจานวนนี้คือ 2,400 2,370<----|-------|-------|-------|-------|-------|------|-------|-------|------|------|----->2,300 10 20 30 40 50 60 70 80 90 2,400
  • 9. 3.การประมาณค่าใกล้เคียงจานวนเต็มพัน จานวนเต็มพันหมายถึงจานวนที่มีหลักหน่วย สิบหลักร้อย ของเลข 4 หลักเป็นเลข 0 เช่น1000 ,2000 ,3000,4000,5000 ,6000 ,7000, 8000 และ9000 การประมาณค่าให้ใกล้เคียงจานวนเต็มพัน ทาได้โดยพิจาณาจากตัวเลขเฉพาะในหลักร้อยของจานวนนั้น ๆ ดังนี้ 1. ถ้าตัวเลขในหลักร้อยมีค่าต่ากว่า 500 ให้ประมาณค่า จานวนนั้นเป็นจานวนเต็มร้อยน้อยกว่าเลขจานวนนั้น
  • 10. เช่น จงประมาณค่าใกล้เคียงจานวนเต็มพันของ 41, 270 แนวคิด จานวน 41,270 อยู่ระหว่างจานวนเต็มพัน คือ 41,000 กับ 42,000 และหลักร้อยของเลขจานวนนี้คือ270 ซึ่งมีค่าน้อยกว่า 500 ให้เราประมาณค่าจานวนเต็มพัน ของจานวนนี้คือ 41,000 41,270<----|-------|-------|-------|-------|-------|------|-------|-------|------|------|----->41,000 100 200 300 400 500 600 700 800 900 42,000
  • 11. 2. ถ้าหลักร้อยของเลขจานวนนั้นมีค่ามากกว่าหรือเท่ากับ50 ให้ประมาณค่าใกล้เคียงจานวนเต็มพันมากกว่าจานวนนั้น เช่น ประมาณค่าใกล้เคียงจานวนเต็มพันของ 41,770 แนวคิด จานวน 41,770 อยู่ระหว่างจานวนเต็มพัน คือ 41,000 กับ 42,000 และหลักร้อยของเลขจานวนนี้คือ 770 ซึ่งมีค่ามากกว่า 50 ให้เราประมาณค่าจานวน เต็มพัน ของจานวนนี้คือ 42,000 41,770<----|-------|-------|-------|-------|-------|------|-------|-------|------|------|----->41,000 100 200 300 400 500 600 700 800 900 42,000
  • 12. 1. จงหาค่าประมาณของผลบวกต่อไปนี้ (1) 2,672 + 2,438 + 8,616 (2) 2,107 + 596 + 5,632 (3) 412 + 363 + 915 (4) 8,352 + 2,153 + 695 (5) 1,123 + 3,261 + 345 (6) 62,148 – 8,612 (7) 21 – 12.6 + 13.13
  • 13. หลักการปัดเศษทศนิยมให้ดูเฉพาะเลขโดดที่อยูถัดจาก ทศนิยมตาแหน่งทีต้องการไป ่ ่ ทางขวามือ ตัวเดียวเท่านั้น และทาได้ครังเดียวเท่านั้น ้ ถ้าต่ากว่า 5 ตัดทิ้ง ตั้งแต่ 5 ขึ้นไปให้ปัดเป็นจานวนเต็ม
  • 14. หลักการปัดเศษทศนิยม การปัดเศษให้เป็นจานวนเต็ม โดยพิจารณาตัวอย่าง จากทศนิยมตาแหน่งที่หนึง ่ 43.975  44 มากกว่า 5 ปัดขึ้นไปเป็น 1 43.525  44 เท่ากับ 5 ปัดขึนไปเป็น 1 ้ 43.497  44 น้อยกว่า 5 ตัดทิ้ง
  • 15. หลักการปัดเศษทศนิยม การปัดเศษให้เป็นทศนิยมหนึ่งตาแหน่งตัวอย่าง โดยพิจารณาจากทศนิยมตาแหน่งที่สอง43.874  43.9 มากกว่า 5 ปัดขึ้นไปเป็น 0.1 43.854  43.9 เท่ากับ 5 ปัดขึนไปเป็น 0.1 ้ 43.834  43.8 น้อยกว่า 5 ตัดทิ้ง
  • 16. หลักการปัดเศษทศนิยม การปัดเศษให้เป็นทศนิยมสองตาแหน่งตัวอย่าง โดยพิจารณาจากทศนิยมตาแหน่งที่สาม43.9782  43.98 มากกว่า 5 ปัดขึ้นไปเป็น 0.0143.9753  43.98 เท่ากับ 5 ปัดขึนไปเป็น 0.01 ้43.9723  43.97 น้อยกว่า 5 ตัดทิ้ง
  • 17. แบบฝึกหัดเสริมทักษะ เรื่อง การปัดเศษ จงเติมจานวนในช่องว่างให้ถูกต้องข้อ จานวน จานวน จานวนเต็ม ทศนิยมหนึ่ง ทศนิยมสองที่ เต็มสิบ ตาแหน่ง ตาแหน่ง1. 0.8692. 9.8753. 26.23864. 156.03455. 2,444.098
  • 18. เฉลยแบบฝึกหัด เรื่อง การปัดเศษ จงเติมจานวนในช่องว่างให้ถูกต้องข้อที่ จานวน จานวนเต็ม จานวนเต็ม ทศนิยมหนึ่ง ทศนิยมสอง สิบ ตาแหน่ง ตาแหน่ง 1. 0.869 0 1 0.9 0.87 2. 9.875 0 10 9.9 9.88 3. 26.2386 30 26 26.2 26.24 4. 156.0345 160 156 156 156.03 5. 2,444.098 2,440 2,444 2,444.1 2,444.1
  • 19. ตัวอย่าง ถังน้ามันใบหนึ่งจุได้ 5,200 ลิตร เมื่อ ต้องตักน้ามันออกจากถังโดยใช้ถังเล็กขนาดจุ ได้ 1.8 ลิตร จะต้องตักอยู่กี่ครั้งน้ามันจึงจะหมดถังวิธีทา น้ามัน 5,200 ลิตร ถังตวงจุได้ 1.8 ลิตร ประมาณ 2 ลิตร ดังนั้น จะต้องตักอยู่ 5200  2600 2 ตอบ 2600 ครั้ง
  • 20. ตัวอย่าง คุณแม่ซื้อข้าวสารมา 142 บาท สบู่ 37 บาท ผงซักฟอก 95บาท น้ามันพืช 27.75 บาท นมตราหมี 94.25 บาท จงหาว่าคุณแม่จ่ายเงินไปประมาณกี่บาทวิธีทา 142  140 37  40 95  100 27 . 75  30 94 . 25  90 จะได้ 140+40+100+30+90 = 400 บาท ดังนั้น 142+37+95+27.75+94.25  400 บาท
  • 21. ลองทาดู คุณทาได้1. เมื่อปีการศึกษา 2540 จานวนประชากรประเทศไทยที่มีอายุที่อยู่ในวัยเรียน อุดมศึกษา 4,658,191 คน แต่ปรากฏว่ามีผู้เรียนอยู่ในระดับนี้อยู่เพียง 39.2% ของจานวนประชากรในวันนี้จงหาว่า มีผู้เรียนในระดับนี้กี่คนโดยประมาณ 2. วิทยุเครื่องหนึ่งราคา1,650บาท ถ้ามีผู้ซื้อเงินสดจะลดให้ 9%อยากทราบว่า ถ้าต้องซื้อสด ต้องจ่ายเงินประมาณกี่บาท
  • 22. 3. ต้องการตัดหญ้าในสนามที่มีขนาดกว้าง 21 เมตร ยาว 36 เมตรโดยเสียค่าใช้จ่ายเมตรละ0.95 บาท จงหาว่าจะต้องจ่ายเงินค่าจ้างตัดหญ้าประมาณกี่บาท 4. ถ้าต้องซื้อผ้ามาตัดเสื้อ 13.2 เมตร เมตรละ 12.5 บาท จะต้องจ่ายเงินประมาณกี่บาท

จาก:http://www.slideshare.net/JiraprapaSuwannajak/ss-8618590

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น